Category Archives: ถนนบางบอน 3

ถนนบางบอน 3

ถนนบางบอน 3 เป็นถนนสายหลักสายหนึ่งใน เขตหนองแขม เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม สภาพเศรษฐกิจดั้งเดิมขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากชุมชนเมืองขยายตัวจากพื้นที่ชั้นใน มีผู้ย้ายถิ่นเข้ามาอยู่อาศัยและประกอบอาชีพมากขึ้น พื้นที่การเกษตรจึงเริ่มถูกเปลี่ยนแปลงเป็นสถานที่ราชการ สถานศึกษา โรงพยาบาล สาธารณสุข สถานีโทรทัศน์ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ และหมู่บ้านจัดสรร

หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof) เขตหนองแขม

เขตบางบอน
เขตบางบอน
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof) เ
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)
หลังคา พียู โฟม (PU Foam Roof)

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตหนองแขมตั้งอยู่บนฝั่งธนบุรี (ทางตะวันตกสุดของกรุงเทพมหานคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ที่มาของชื่อเขต[แก้]

บริเวณแขวงหนองแขมในอดีตมีสภาพเป็นที่ราบลุ่ม บางแห่งมีน้ำท่วมขังตลอด (หนองน้ำ) และมีต้นแขม (หญ้าขนาดสูงชนิดหนึ่ง) ขึ้นอยู่หนาแน่นเป็นพง ก่อนหน้านั้นเคยมีชื่อเรียกว่า “หนองน้ำแดง” แต่ถูกลืมไปแล้ว[3] จนกระทั่งใน พ.ศ. 2413 พระวินัยธร (คำ) เจ้าอาวาสวัดเชิงเลน ตำบลบางช้าง อำเภอสามพราน เมืองนครปฐม ได้สร้างวัดขึ้นที่ริมหนองน้ำแห่งหนึ่งและตั้งชื่อวัดว่า “วัดหนองแขม”[4] ตามลักษณะของพื้นที่ ส่วนชาวบ้านก็ได้ขุดบ่อไว้ริมหนองเพื่ออาศัยใช้น้ำจืดและเรียกว่า “บ่อหนองแขม”[4]

ประวัติ[แก้]

บริเวณหนองแขมซึ่งมีคลองภาษีเจริญตัดผ่านมีความเจริญและมีผู้คนเพิ่มขึ้น ใน พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง อำเภอหนองแขม ขึ้นตรงต่อกระทรวงนครบาล เนื่องจากทรงเล็งเห็นว่า พื้นที่บริเวณดังกล่าวน่าจะเป็นศูนย์กลางการพัฒนาในย่านฝั่งตะวันตกของพระนครได้[4] โดยอำเภอหนองแขมสมัยนั้นแบ่งออกเป็น 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลหนองแขม ตำแหน่งกำนันมีชื่อว่าขุนขจรหนองแขมเขตร์, ตำบลหนองค้างพลู มีขุนประเทศหนองแขมขันธ์เป็นกำนัน, ตำบลหลักหนึ่ง มีขุนหนองแขมกนิษฐศรเป็นกำนัน และตำบลหลักสอง มีขุนภิบาลเขตร์นครเป็นกำนัน ตั้งที่ว่าการอำเภออยู่หน้าโรงจับกัง (บ้านพักคนงาน) ของโรงสีเหลียงเฮงฮวดในปัจจุบัน[4] จนถึง พ.ศ. 2452 จึงย้ายไปตั้งริมคลองภาษีเจริญฝั่งเหนือ บริเวณปากคลองมหาศร หมู่ที่ 5 ตำบลหนองแขม[4]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตหนองแขมแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง ได้แก่

หมาย
เลข
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2565)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2565)
แผนที่
2.
หนองแขม Nong Khaem
18.789
80,258
4,271.54
แผนที่
3.
หนองค้างพลู Nong Khang Phlu
17.036
74,985
4,401.56
ทั้งหมด
35.825
155,243
4,333.37

หมายเลขที่หายไปปัจจุบันคือแขวงในเขตบางแค

ประชากร[แก้]

Call Now Button