Category Archives: อำเภอท่าเรือ

อำเภอท่าเรือ

อำเภอท่าเรือ is keyphrase of the post’s title to present at the first rank on Google Page enter by keyphrase or synonyms.

อำเภอท่าเรือ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอนครน้อย ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน[1]

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

อำเภอท่าเรือตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

ประวัติศาสตร์[แก้]

  • วันที่ 1 เมษายน 2480 เปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดสระบุรี กับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โอนพื้นที่ตำบลบ้านร่อม อำเภอหนองโดน (อำเภอบ้านหมอในปัจจุบัน) จังหวัดสระบุรี มาขึ้นกับ อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา[2]
  • วันที่ 16 มกราคม 2481 โอนพื้นที่หมู่ 5,6,7 (ในขณะนั้น) ของตำบลโคกมะนาว ไปขึ้นกับตำบลท่าเรือ[3]
  • วันที่ 15 พฤษภาคม 2482 เปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอท่าเรือ (1,2,3,4,5,6)[4]
  • วันที่ 26 ธันวาคม 2487 จัดตั้งเทศบาลตำบลท่าเรือ ในท้องที่บางส่วนตำบลท่าเรือ[5]
  • วันที่ 10 มิถุนายน 2490 ตั้งตำบลท่าเจ้าสนุก แยกออกจากตำบลท่าเรือ ตั้งตำบลโพธิ์เอน แยกออกจากตำบลปากท่า[6]
  • วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2499 โอนพื้นที่หมู่ 9,10 (ในขณะนั้น) ของตำบลหนองขนาก อำเภอท่าเรือ ไปขึ้นตำบลดอนหญ้านาง อำเภอภาชี[7]
  • วันที่ 1 มีนาคม 2501 จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลไก่จ้น ในท้องที่อำเภอท่าเรือ[8]
  • วันที่ 11 เมษายน 2504 เปลี่ยนแปลงชื่อตำบลไก่จ้น อำเภอท่าเรือ เป็น ตำบลท่าหลวง[9]
  • วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 ยุบองค์การบริหารส่วนตำบลไก่จ้น อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจัดตั้งสุขาภิบาลท่าหลวง ในท้องที่บางส่วนของตำบลท่าหลวง บางส่วนของตำบลท่าเรือ และบางส่วนของตำบลจำปา[10]
  • วันที่ 21 ตุลาคม 2517 โอนพื้นที่ตำบลท่าเรือที่อยู่นอกเขตเทศบาลตำบลท่าเรือ (ในสมัยนั้น) ไปขึ้นกับตำบลจำปา[11]
  • วันที่ 25 ธันวาคม 2524 เปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลตำบลท่าเรือ ให้ครอบคลุมตำบลท่าเรือทั้งหมด[12]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลท่าหลวง เป็นเทศบาลตำบลท่าหลวง

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภอท่าเรือแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 10 ตำบล 84 หมู่บ้าน

1. ท่าเรือ (Tha Ruea) 6. วังแดง (Wang Daeng) 8 หมู่บ้าน
2. จำปา (Champa) 9 หมู่บ้าน 7. โพธิ์เอน (Pho En) 6 หมู่บ้าน
3. ท่าหลวง (Tha Luang) 10 หมู่บ้าน 8. ปากท่า (Pak Tha) 8 หมู่บ้าน
4. บ้านร่อม (Ban Rom) 9 หมู่บ้าน 9. หนองขนาก (Nong Khanak) 10 หมู่บ้าน
5. ศาลาลอย (Sala Loi) 15 หมู่บ้าน 10. ท่าเจ้าสนุก (Tha Chao Sanuk) 9 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

ท้องที่อำเภอท่าเรือประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 11 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลท่าเรือ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าเรือทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลท่าหลวง ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลจำปาและบางส่วนของตำบลท่าหลวง
  • องค์การบริหารส่วนตำบลจำปา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลจำปา (นอกเขตเทศบาลตำบลท่าหลวง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าหลวง (นอกเขตเทศบาลตำบลท่าหลวง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านร่อม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านร่อมทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลศาลาลอย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลศาลาลอยทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลวังแดง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวังแดงทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลโพธิ์เอน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโพธิ์เอนทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลปากท่า ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปากท่าทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลหนองขนากครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองขนากทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเจ้าสนุก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าเจ้าสนุกทั้งตำบล

เศรษฐกิจ[แก้]

อำเภอท่าเรือแต่เดิมเป็นเขตเกษตรกรรมมีการเพาะปลูกข้าวและการเพาะเลี้ยงพันธุ์ปลาจากสายน้ำแห่งแม่น้ำป่าสัก มีเขื่อนพระราม 6 ซึ่งเป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยว

สถานที่ท่องเที่ยว[แก้]

อำเภอท่าเรือมีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจและเป็นที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้แก่

  1. เขื่อนพระราม 6 เป็นเขื่อนทดน้ำเพื่อการเกษตรแห่งแรกของประเทศไทย
  2. วัดสะตือ พุทธไสยาสน์ ซึ่งเป็นสถานที่สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี เกิดในเรือซึ่งอยู่บริเวณใกล้เคียงกับวัดแห่งนี้ จึงได้มีการอัญเชิญพระพุทธรูปของสมเด็จพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี ประดิษฐานปางไสยาสน์อยู่ในวัดแห่งนี้
  3. วัดบึงลัฏฐิวัล เป็นวัดสายปฏิบัติธรรม มีพระธาตุเจดีย์ศรีอยุธยาสัมมาสัมโพธิญาณ และมีบรรยากาศร่มรื่นเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม
  4. วัดหนองแห้ว วัดตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลท่าเรือมีพระองค์ใหญ่ไม่มีการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ โดยชาวบ้านเรียกว่า’หลวงพ่อใหญ่’ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเป็นที่เคารพและนับถือของชาวบ้าน
  5. วัดไม้รวก วัดนี้สร้างตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 มีภาพจิตรกรรมฝาผนังโบราณ มีพระพุทธรูปปางป่าเลไลย์และพระพุทธรูปปางไสยาสน์จำลองประดิษฐานอยู่ภายในวัด
  6. วัดศาลาลอย ตั้งอยู่ในตำบลศาลาลอย เดิมมีชื่อว่าวัดศิลาลอยเนื่องจากมีศิลาลอยน้ำมาชาวบ้านจึงช่วยกันอันเชิญศิลาขึ้นมาแต่ไม่สำเร็จ ปัจจุบันศิลานั้นประดิษฐานอยู่ที่วัดเทพจันทร์ลอย อำเภอนครหลวง สิ่งที่น่าสนใจของวัดนี้คือพระองค์ใหญ่ที่ประดิษฐานในวิหาร
  7. วัดไก่จ้น เป็นถิ่นกำเนิดสมเด็จพระพุฒาจารย์มีรูปปั้นจำลงอสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต  พรหมรังสี) และพระพุทธรูปปางป่าเลไลย์ ประดิษฐานในวิหาร

ตำบลท่าหลวง แผ่นกันสาด โปร่งแสง

ตำบลบ้านร่อม แพนเนล พียู

ตำบลปากท่า หลังคา พียู ลายไม้

ตำบลวังแดง แผ่นใส สีขาวขุ่น 

ตำบลศาลาลอย แผ่นใส สีใสกระจก

ตำบลหนองขนาก หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ตำบลโพธิ์เอน หลังคา พียู โฟม

หลังคา พียู โฟม โพธิ์เอน

หลังคา พียู โฟม โพธิ์เอน หลังคา พียู โฟม โพธิ์เอน (PU F […]

แซนวิช พียู โฟม หนองขนาก

แซนวิช พียู โฟม หนองขนาก แซนวิช พียู โฟม หนองขนาก (PU S […]

แพนเนล พียูโฟม ศาลาลอย

แพนเนล พียูโฟม ศาลาลอย แพนเนล พียูโฟม ศาลาลอย (Panel PU […]

Call Now Button